ผู้นำ ภาวะผู้นำในยุคโลกดิจิทัล การปรับตัวกับสถานการณ์ปัจจุบัน การเป็นพลเมืองดิจิทัล เครือข่ายการเรียนรู้ นวัตกรรมการเรียนรู้ในโลกอนาคต การเปลี่ยนผ่านการเรียนรู้จากยุคดั้งเดิม สู่ยุคดิจิตัล ฝึกบุคลิกภาพของผู้นำยุคดิจิทัล การสื่อสารบนโลกดิจิตัล การปรับตัวให้ทันกับเทคโนโลยีการพัฒนาคนและการสร้างคนสู่องค์กรดิจิทัล การดำรงชีวิตในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในยุค Discerptions อัตลักษณ์บุคคล การคิดเชิงสร้างสรรค์เพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมเพื่อความเท่าเทียม และลดความเหลื่อมล้ำของสังคมไทย
Leadership in the digital age Adaptation to the current situation Citizenship Digital learning network Learning innovation in the future world Transition from learning from the primitive era to the digital age Train the personality of digital leaders. Digital communication Adaptation to keep up with technology, human development, and the creation of people to digital organizations. Living in a changing situation in the age of Discerptions. Creative thinking for coexistence in society for equality and reduce the inequality of Thai society
วัตถุประสงค์ของวิชาLO1: รู้และเข้าใจหลักการใช้ดิจิทัลมีความสามารถในการคิด
LO2: สามารถถ่ายทอดความคิดความรู้สึกตลอดจนสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
LO3: มีความรู้ ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลพัฒนาทักษะการเรียนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือสำหรับแสวงหาความรู้ควบคู่ไปกับการใช้แหล่งสารนิเทศเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต
LO4: วิจารณญาณและการแก้ปัญหามีความสามารถในการบริหารจัดการตนเอง ภาษาอังกฤษในการสื่อสารดิจิทัล
เนื้อหา
บทนำ แนะนำวิชา
บทที่ 1 : จิตวิทยาสำหรับผู้นำยุคดิจิทัล
บทที่ 2 : การปรับตัวการทำงาน การสื่อสารสำหรับผู้นำ
บทที่ 3 : บุคลิกภาพของผู้นำยุคดิจิทัล
บทที่ 4 : ผู้นำ ภาวะผู้นำยุคดิจิทัล
บทที่ 5 : ผู้นำกับการดำรงชีวิตในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง
บทที่ 6 : การอยู่ร่วมกันในสังคมเพื่อความเท่าเทียมในยุคดิจิทัล
บทที่ 7 : การเป็นพลเมือง และเครือข่ายการเรียนรู้ดิจิทัล
บทที่ 8 : ทักษะทางภาษาสำหรับผู้นำยุคดิจิทัล
ผู้เรียนมีทักษะการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ หูฟัง สำหรับการเรียนรู้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ เท็ปเล็ต หรือ โทรศัพท์ไร้สาย ภายใต้การเชื่อมโยงกับระบบอินเทอร์เน็ต
การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนโดยการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด และมีผลการสอบหลังเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และได้รับใบประกาศนียบัตรสำเร็จรายวิชา
คณะทำงาน
รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ อาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ |
||
นายสุวรรณ โชติการ คณะทำงาน สถาบันทรัพยากรการเรียนรู้และเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยทักษิณ |
||
นางสาวพิชญา จินดามณี คณะทำงาน สถาบันทรัพยากรการเรียนรู้และเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยทักษิณ |
||
“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนารายวิชาออนไลน์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BB NC SA”